เลือกหน้า

ประกันภัยโดรน

N

คุ้มครองความเสียหายบุคคลภายนอก

N

วงเงินอุบัติเหตุสูงสุด 1 ล้านบาท

N

ระบุชื่อผู้บังคับอากาศยาน สูงสุด 4 คน

เริ่มต้น 2,100 บาท

ความคุ้มครองที่ได้รับ

เงื่อนไขการรับประกัน

  1. น้ำหนักของโดรนที่ขอเอาประกันภัย ต้องไม่เกิน 25 กิโลกรัม
  2. ผู้บังคับอากาศยานไร้คนขับ ต้องมีจำนวนไม่เกิน 4 คน (ระบุชื่อ) ต่ออากาศยานไร้คนขับ 1 ตัวและต้องเป็นผู้มีใบอนุญาตเท่านั้น

เคล็ดลับประกันโดรน

1. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล (PA) คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร?

ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล คือประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุ จะให้ความคุ้มครองตลอด 24 ชั่วโมงทั่วโลก ให้ความคุ้มครองครอบคลุมกรณีต่างๆ ดังต่อไปนี้ กรณีเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะและสายตา กรณีทุพพลภาพถาวร ค่ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ

2. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล คุ้มครองผู้เอาประกันที่มีอายุเท่าไร
ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลจะคุ้มครองผู้เอาประกันที่มีช่วงอายุตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ สำหรับกรมธรรม์ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลของทิพยประกันภัย จะคุ้มครองผู้เอาประกันที่มีอายุระหว่าง 15 – 60 ปีบริบูรณ์

ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลจะไม่รับประกันบุคคลที่ประกอบอาชีพซึ่งมีความเสี่ยงระดับ 3 และ 4 แบ่งออกเป็น

อาชีพที่มีความเสี่ยงระดับ 3 เช่น ปฏิบัติหน้าที่ด้านงานช่างหรือทำงานกับเครื่องจักรกลหนัก หรือเป็นผู้ใช้แรงงาน ผู้ขนส่ง

อาชีพที่มีความเสี่ยงระดับ 4 เช่น ลักษณะงานเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเป็นพิเศษ

ซึ่งสามารถระบุให้ชัดเจนคืออาชีพดังต่อไปนี้

  • จักรยานยนต์รับจ้าง
  • คนงานก่อสร้าง
  • ช่างยนต์
  • กรรมกร
  • พนักงานเหมือง
  • ชาวประมง
  • พนักงานทำความสะอาดกระจก
  • ช่างไฟฟ้า
  • ยาม
  • พนักงานดับเพลิง
  • สตั๊นท์แมน
  • พนักงานขับรถโดยสาร
  • คนขับรถแท็กซี่
  • คนขับรถขนส่งประจำทาง
  • นักแข่งรถ
  • นักมวย
  • นักประดาน้ำ
  • นักปีนเขา
  • พนักงานขุดเจาะ
  • คนขับเรือ
  • อาสาสมัครกู้ภัย
  • พนักงานติดตั้งเสาอากาศ
  • พนักงานติดตั้งป้ายโฆษณา
  • นักศึกษาแผนกช่าง
  • พนักงานส่งเอกสาร
  • คนงานในโรงงานอุตสาหกรรม
  • คนงานในโรงงานผลิตแก๊ส
  • พนักงานเช็ดกระจกบนตึกสูง
  • หรืออาชีพที่มีความเสี่ยงระดับเดียวกัน
3. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลหรือไม่
4. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลมีระยะเวลาในการคุ้มครองอย่างไร
5. คุ้มครองกรณีขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์หรือไม่ อย่างไร
6. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลเหมาะกับใครบ้าง
7. ทำไมต้องทำประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ?
8. ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลไม่คุ้มครองใครบ้าง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม